วิธีรายงานอาชญากรรมจากความเกลียด ชังจากความเกลียดชังจากความเกลียดชัง

ภาษาไทย (Thai)

ทรัพยากร

คลิกชื่อส่วนเพื่อข้ามไปยังส่วนนั้น


อาชญากรรมที่เกิดจากความเกลียดชังคืออะไร

คืออาชญากรรมที่กระทำ˝ˇเพราะอคติและมูลเหตุที่เกิดจากอคติที่กระทำ˝ˇต่อ เหยื่อที่เป็นคนเฉพาะกลุ่มต่างๆ เช่น เชื้อชาติ ศาสนา เพศสภาพ ความทุพพลภาพ อายุ และเพศ


เหตุการณ์ใดคือเหตุการณ์ที่เป็นกรณีความ
เกลียดชัง:

  • การด่าทอ การสบประมาท การแสดงความเกลียดชัง
    ในลักษณะต่างๆ ในพื้นที่ของคุณหรือในที่สาธารณะ

  • ถ้าสิ่งที่เกิดขึ้นคุกคามคนหรือทรัพย์สิน ถือว่าเป็น
    อาชญากรรมที่เกิดจากความเกลียดชัง

อาชญากรรมที่เกิดจากความเกลียดชัง:

  • หมายถึงการกระทำ หรือการพยายามที่จะกระทำ สิ่งที่ ผิดกฎหมายอาญา ตัวอย่างเช่น:

    • การคุกคาม

    • มีการทำ ร้ายร่างกาย

    • การขู่/การก่อเหตุรุนแรง

    • ทรัพย์สินเสียหาย


ผลของอาชญากรรมที่เกิดจากความเกลียดชัง

  • สูญเสียความรู้สึกมั่นคงปลอดภัย

  • เหยื่อ ครอบครัว และเพื่อนของเหยื่อสูญเสียของหรือคนรัก สูญเสียเงิน หรือเสียขวัญ 

  • ทำ˝ˇให้เกิดความแตกแยกในหมู่เพื่อนบ้านและชุมนุม 

  • ทำ˝ˇให้เกิดความกลัวและความเคลือบแคลงสงสัย 

  • ทำ˝ˇให้ความตรงไปตรงมาและการร่วมมือกันลดลง 

  • ทำ˝ˇให้เกิดภัยคุกคามหลักการประชาธิปไตยและความเท่าเทียม

  • เป็นการทำ˝ˇลายหลักการขั้นพื้นฐานของประเทศของเรา

  • ประชาชาชนสูญเสียความเชื่อมั่นในกฎหมาย 

  • ทำ˝ˇให้กลุ่มของเหยื่อออกมาแก้แค้น 

  • สร้างความรุนแรงและความขัดแย้งทางสังคมและชาติพันธ


ทำ˝ˇไมคุณจึงต้องแจ้งความ

คุณไม่ต้องกังวลว่าคุณมีสัญชาติอเมริกันหรือไม่ คุณมีสิทธิ์ขั้นพื้นฐาน!

  • คุณไม่ต้องกังวลว่าคุณมีสัญชาติอเมริกันหรือไม่ คุณมีสิทธิ์ขั้นพื้นฐาน! 

  • อย่าอายหรือปฏิเสธสิ่งที่เกิดขึ้นกับคุณ 

คุณไม่ได้เผชิญสิ่งนี้เพียงลำ˝ˇพัง ยังมีชุมชนที่พร้อมจะอยู่ คียงข้างคุณถ้าคุณเล่าถึงสิ่งที่เกิดขึ้น 

การแจ้งความกรณีอาชญากรรมที่เกิดจากความเกลียดชังจะคุ้มครองคุณ และคนอื่นๆ

  • ควรแจ้งความคดีอาชญากรรมทุกกรณี เพื่อที่จะควบคุมและป้องกันเหตุที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

  • การไม่แจ้งความกรณีอาชญากรรมที่เกิดจากความเกลียดชังจะทำ˝ˇให้ความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น 

  • และเป็นภัยต่อความมั่นคงของประเทศ 

  • ถ้าไม่มีการแจ้งความ

    = ท่ากับไม่มีการลงบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร
    = เท่ากับไม่มีอาชญากรรมที่เกิดจากความเกลียดชัง


ข้อแนะนำ˝ˇในการป้องกัน

บอกคนอื่นทุกครั้งว่าคุณกำ˝ˇลังจะเดินทางไปไหน

  • มีบัตรประจำ˝ˇตัวติดตัวไปด้วย 

  • สังเกตสิ่งแวดล้อมรอบข้าง 

  • ทำ˝ˇความคุ้นเคยสิ่งที่เป็นที่สังเกตหลักๆ - ตลาด สถานีตำ˝ˇรวจ สถานีดับเพลิง ปั๊มน้ำ˝ˇมัน ร้านอาหาร สี่แยก 

  • มีเครื่องส่งสัญญาณเตือนภัยส่วนตัว หรือ นกหวีดและไฟฉาย 

  • หลีกเลี่ยงที่เปลี่ยว 

  • หลีกเลี่ยงทางลัด

  • อย่าเดินคนเดียวเวลากลางคืน 

  • เดินบนทางเท้า ฝั่งที่รถวิ่ง 

  • เดินถนนที่พลุกพล่าน และมีไฟสว่าง 

  • เดินอย่างมั่นใจ และดูมีจุดหมาย

  • อย่าโชว์เงินสด บัตรเครดิต หรือเครื่องประดับ

เมื่อใช้ระบบขนส่งสาธารณะ

  • เช็คตารางรถ รถไฟ

  • อย่ารอรถคนเดียวที่ป้าย

  • ศึกษาเส้นทางที่จะไปและเส้นทางเดินทางกลับ

  • นั่งใกล้คนขับ

  • ถ้าโดนคุกคาม แจ้งคนขับทันที


เมื่อเกิดเหตุ

เดินหนีทันที หรือลงสถานีต่อไปและออกจากสถานการณ์นั้น ยิ่ง
คุณ อยู่ใกล้คนอื่นมากเท่าไหร่ยิ่งเป็นผลดีกับคุณ

อย่าพยายามเข้าไปโต้เถียงเพราะสถานการณ์อาจจะรุนแรงมากขึ้น

พยายามบอกคนรอบข้างว่าเกิดอะไรขึ้นและขอให้คนช่วย
(ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจากหน้าหลังๆ สีเหลือง)

หยิบโทรศัพทย์ออกมาถ่ายรูปและวิดีโอของ คนก่อเหตุ ถ้าเห็น ว่า ปลอดภัย

โทร 9-1-1 หากถูกโจมตี

ตะโกน ‘HELP’ หรือ ‘FIRE’ หรือเป่านกหวีด

ถ้าคุณโดนทำ˝ˇร้าย 

  • หาทางป้องกันตัวและพยายามต่อสู้ทุกวิถีทาง 

  • ทำ˝ˇตัวเหมือนคนบ้า เพราะพวกเขาจะตกใจและปล่ อยคุณไป

จดสิ่งที่คุณจำ˝ˇได้ไว้ รายละเอียดเกี่ยวกับคนร้าย:

  • สีผิว 

  • ขนบนใบหน้า (หนวด เครา) 

  • ตา (สี หรือใส่แว่น) 

  • ทรงผม สี แ(สกข้าง ยาว สั้น) 

  • ส่วนสูง 

  • เสื้อผ้า 

  • พฤติกรรม 

  • เสียง 

  • อายุ 

  • รอยสัก 

  • แผลเป็น 

  • เครื่องประดับ 

  • น้ำ˝ˇหนัก


พยายามบอกคนรอบข้างว่าเกิดอะไรขึ้นและขอ ให้คนช่วย

ชี้ไปที่วลีด้านล่างเพื่อรับความช่วยเหลือจากใครบางคน


สิ่งที่ควรทำ˝ˇหลังจากประสบเหต

โทร 911 หากคุณได้รับบาดเจ็บ


รายละเอียดผู้กระทำ˝ˇผิด:

  1. เพศ:

  2. อายุ:

  3. เชื้อชาติ:

  4. สีตา:

  5. ทรงผม:

  6. สีผมุ:

  7. สื้อผ้า:

  8. ขนบนใบหน้า:

  9. แผลเป็นุ:

  10. รอยสัก:

  11. เครื่องประดับ:

  12. น้ำ˝ˇหนัก:

แจ้งตำ˝ˇรวจทันท

บรรยายเหตุการณ์ที่เกิด:

  1. วันที่เกิดเหตุ:

  2. เวลา:

  3. สถานท:

  4. พยาน (ชื่อและเบอร์ติดต่อ):

  5. เบอร์รถประจำ˝ˇทาง:

  6. เบอร์เส้นทาง:

  7. สี่แยก:

  8. ทะเบียนรถ:

  9. รถรุ่น:

  10. ยี่ห้อรถ:

  11. สีรถ:

  12. ปีที่ผลิต:

  13. ชื่อของเจ้าหน้าที่ตำ˝ˇรวจ:

  14. หมายเลขประจำ˝ˇตัวตำ˝ˇรวจ:

  15. หมายเลขคด:

ถ้าเจ้าหน้าที่ตำ˝ˇรวจไม่รับแจ้งความ ไปที่สถานที่ตำ˝ˇรวจ แจ้งความและขอสำ˝ˇเนาของบันทึกแจ้งความ